หน้าแรก

“BONSUCRO” มาตรฐานการผลิตอ้อยและน้ำตาลอย่างยั่งยืน

“BONSUCRO” มาตรฐานการผลิตอ้อยและน้ำตาลอย่างยั่งยืน

BONSUCRO (บองซูโคร) มาตรฐานสากลที่เกิดจากรวมกลุ่มของนักวิชาการ ชาวไร่อ้อยและภาคเอกชน
SUSTAINABLE STANDARD ทำไร่สมัยใหม่ต้องได้ BONSUCRO

SUSTAINABLE STANDARD ทำไร่สมัยใหม่ต้องได้ BONSUCRO

BONSUCRO เป็นมาตรฐานการผลิตอ้อยและน้ำตาลอย่างยั่งยืน ที่ไม่ได้มองแค่กระบวนการผลิตน้ำตาลในโรงงานเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมไปถึงกิจกรรมการทำไร่อ้อยในทุกขั้นตอนของมิตรชาวไร่ด้วย
มิตรผลผงาด ปักธง BONSUCRO เจ้าแรกในไทย ชูมาตรฐานใหม่ พาชาวไร่สู่ความยั่งยืน

มิตรผลผงาด ปักธง BONSUCRO เจ้าแรกในไทย ชูมาตรฐานใหม่ พาชาวไร่สู่ความยั่งยืน

กลุ่มมิตรผลผ่านการรับรองมาตรฐาน BONSUCRO องค์กรด้านอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลระดับโลก เป็นรายแรกในประเทศไทย และเป็นรายที่ 2 ในภูมิภาคเอเชีย ทำให้เป็นประเทศไทยกลายเป็นประเทศที่ 5 ของโลกที่ได้รับการรับรอง
BONSUCRO  มาตรฐานเกษตรยั่งยืน เพื่อโลก เพื่อเรา

BONSUCRO มาตรฐานเกษตรยั่งยืน เพื่อโลก เพื่อเรา

วิถีเกษตรสมัยใหม่กับมิตรผลโมเดิร์นฟาร์ม นี่คือหนึ่งในหลักสำคัญในปลูกอ้อยยั่งยืน “บองซูโคร” (BONSUCRO) คือมาตรฐานการเกษตร ยั่งยืนที่คนในอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทั่วโลกให้การยอมรับ
GREEN HARVESTING

GREEN HARVESTING

สมัยก่อนการตัดอ้อยแบบเผาใบเป็นที่นิยมกันมาก เพราะใช้แรงงานคนในการตัด ไม่ต้องพบกับปัญหาใบอ้อยมากมายที่เข้าไปตัด ไม่คันไม่บาด ตัดอ้อยได้สบาย แต่ปัจจุบันเราสามารถใช้เครื่องจักรเข้าไปตัดอ้อยโดยตรงในไร่ได้
BONSUCRO ใส่ใจคนได้ผลที่งาน

BONSUCRO ใส่ใจคนได้ผลที่งาน

หลักเคารพสิทธิมนุษยชนและมาตรฐานแรงงานเป็นอีกหนึ่งข้อที่สำคัญมากของการทำไร่อ้อยให้ได้การรับรองมาตรฐานการผลิตอ้อยและน้ำตาลอย่างยั่งยืน BONSUCRO
LESS FOR MORE ออกแบบแปลงปลูกใหม่ใช้ท่อนพันธุ์น้อยลง

LESS FOR MORE ออกแบบแปลงปลูกใหม่ใช้ท่อนพันธุ์น้อยลง

หลักพื้นฐานที่สำคัญอย่างหนึ่งของวิธีการปลูกอ้อยสมัยใหม่แบบมิตรผลโมเดิร์นฟาร์มนั่นก็คือการออกแบบแปลงปลูกอ้อยใหม่ให้มีการวางผังพื้นที่ (Farm Layout)
Hello Worm ไส้เดือน 4 พันธุ์ที่มาแรงใน พ.ศ.นี้

Hello Worm ไส้เดือน 4 พันธุ์ที่มาแรงใน พ.ศ.นี้

ไส้เดือน ไม่ใช่แค่สิ่งมีชีวิตตัวเล็กๆที่อยู่ในผืนดินทั่วไป แต่ไส้เดือนเปรียบเสมือนเพื่อนในไร่
3 วิธีสูบน้ำจากบ่อบาดาลได้แม้ไฟฟ้ายังเข้าไม่ถึง

3 วิธีสูบน้ำจากบ่อบาดาลได้แม้ไฟฟ้ายังเข้าไม่ถึง

เนื่องจากปริมาณความต้องการน้ำของอ้อยจำนวน 1,200-1,600 มิลลิเมตรต่อปี บ่อบาดาลจึงเป็นอีกหนึ่งวิธีที่มิตรชาวไร่เลือกไว้สำหรับการสะสมน้ำในไร่ ให้มีเพียงพอตลอดฤดูกาลเพาะปลูก